บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก พฤศจิกายน, 2021

นายนนทวัฒน์ ศรีเมฆ เลขที่3 ปวส2 กลุ่ม1

รูปภาพ
  1. วิเคราะห์โปรแกรมภาษาซีชี้จุดผิดไวยกรณ์ #include  < stdio.h >                             > ไม่ควรเว้นวรรค <stdio.h> void main() {  int score; printf("Input score="); scanf("%d",&score); if(score>=80) printf(" score grade 4 ",score);              > ควรแสดงค่า   score ออกหน้าจอด้วยเพื่อสามารถอ่านได้เช่น                                                                score 80  grade 4 else if(score>=75) printf(" score grade 3.5 ",score);           > ควรแสดงค่า   score ออกหน้าจอด้วยเพื่อสามารถอ่านได้เช่น                                                                score 75  grade 3.5 else if(score>=70) printf(" score grade 3 ",score);               > ควรแสดงค่า   score ออกหน้าจอด้วยเพื่อสามารถอ่านได้เช่น                                                                score 70  grade 3 else if(score>=65) printf(" score grade 2.5 ",score);           > ควรแสดงค่า   score ออกหน้าจอด้วยเ

นายนนทวัฒน์ ศรีเมฆ เลขที่3 ปวส2กลุ่ม1

รูปภาพ
  โครงงานคอมพิวเตอร์ 1 . ชื่อโครงงาน   โปรแกรมคำนวณการเคลื่อนที่ในแนวตรง 2 . ผู้จัดทำ   นายนนทวัฒน์ ศรีเมฆ 3 . ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน   ครูนพพร จูจันทร์ 4 . ที่มาและความสำคัญของโครงงาน เพื่อทำความเข้าใจหรืออธิบายสิ่งต่าง ๆรอบตัว เช่น  ใช้การเคลื่อนที่ แนวตรง ในการสำรวจระยะทาง อัตราเร็ว ความเร่ง  การเคลื่อนที่แนวตรง    5 . วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1. เพื่อศึกษาหลักการใช้สูตรการเคลื่อนที่แนวตรง 2. เพื่อพัฒนาภาษาซีในการใช้หาระยะทาง ( s) 3. เพื่อพัฒนาภาษาซีในการใช้หาความเร็วต้น ( u) 4. เพื่อพัฒนาภาษาซีในการใช้หาความเร็วปลาย ( v) 5. เพื่อพัฒนาภาษาซีในการใช้หาความเร่ง( a) 6. เพื่อพัฒนาภาษาซีในการใช้หาเวลา ( t)   6. สมมติฐานของโครงงาน         1. สามารถหาค่า การเคลื่อนที่แนวตรงได้   7 . วิธีดำเนินงานของโครงงาน 1.  เขียนโปรแกรม  ( source code) 2.  รวบรวม โปรแกรม  ( compile) 3.  เชื่อมโยงโปรแกรม  ( link) 4.  ประมวลผล  ( run) 8. แผนการปฏิบัติโครงการ 9 . ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ศึกษาหลักการใช้สูตรการเคลื่อนที่แนวตรง 2. ได้พัฒนาภาษาซีในการใช้หาระยะทา

นายนนทวัฒน์ ศรีเมฆ เลขที่3 กลุ่ม1

รูปภาพ
                                                      วงจรวัดระดับน้ำอิเล็กทรอนิกส์        วงจรนี้เป็นพื้นฐานของวงจริอนเตอร์ล็อกปิดสวิตซ์ปั้มน้ำซึ่งเมื่อระดับน้ำถึงจุดที่ตั้งไว้ก็จะตัดสวิตซ์โดยอัตโนมัติ โดยการต่อเซนเซอร์ที่จุด A และจุด B ซึ่งที่ตัวเซนเซอร์เป็นจุดใช้ในการวัดระดับของน้ำในถังเมื่อน้ำถึงระดับที่เซนเซอร์ติดตั้งไว้ก็จะส่งสัญญาณไปที่รีเลย์เพื่อตัดสวิตซ์ปั้มน้ำ                    เมื่อกดสวิตซ์ Push button ก็จะทำให้ Relay2 ถูกกระตุ้นและเปิดสวิตซ์ปั้มน้ำและวงจรเซนเซอร์ให้ทำงาน ขณะที่น้ำต่ำกว่าจุดเซนเซอร์ A และ B ที่ติดตั้งไว้ ทรานซิสเตอร์ Q1 จะออฟและ relay1 ไม่ได้รับการกระตุ้นและทำงานอยู่ ขณะที่ relay2 จะถูกกระตุ้นอย่างต่อเนื่องโดยจะป้องแรงดันไฟเอซีไปยังปั้มน้ำและวงจรเซนเซอร์ทั้งสอง                             อย่างไรก็ตามเมื่อน้ำถึงจุดสัมผัสเซนเซอร์ทั้งสอง ทรานซิสเตอร์ Q1 ก็จะทำงานทันที ซึ่งจะไปกระตุ้นให้ relay1 ทำงานและหยุดกระตุ้น relay2 และทำให้หยุดการทำงานของปั้มน้ำและวงจรเซนเซอร์ และเมื่อต้องการเติมน้ำใส่ถังอีกครั้งก็เพียงแค่กดสวิตซ์ Push button อีกครั้งก็สามารถใช้ได้เหมือน

นายนนทวัฒน์ ศรีเมฆ เลขที่3 กลุ่ม1

รูปภาพ
  1.  อัลกอรึทึม รหัสเทียมของโปรแกรม     Algorithm Problem_1     Variables : mLoop , Sum , testScore , average        Begin           Input mLoop           Sum = 0           For I = 1 to mLoop                  Input testScore                  Sum= Sum + testScore        Next        average=Sum / mLoop        Print average        End Problem_1 2. โฟลชาร์ต เทียบรหัสเทียม 3. โฟลชาร์ต เทียบคำสั่งภาษา C 4. คำสั่งภาษา C #include <stdio.h> int mLoop , Sum, testScore ; float average; int main() {        printf(" กำหนดจำนวนครั้งในการกรอกข้อมูล  :   ");     scanf("%d",&mLoop);     Sum=0;   for(int i=1; i<= mLoop ; i++)   {       printf(" \n กรองข้อมูลครั้งที่  %d :  ", i );       scanf("%d",&testScore);       Sum=Sum+testScore;   }   average=Sum/mLoop;   printf (" ค่าเฉลี่ยต่อรอบ = %f ",average  );      return 0; } 5. รูปผลการ RUN โปรแกรม

นายนนทวัฒน์ ศรีเมฆ ปวส2 กลุ่ม1 เลขที่3

รูปภาพ
  Pressure sensor วัดแรงดันน้ำ Pressure sensor   คืออุปกรณ์วัดความดัน เป็นอุปกรณ์ตรวจวัดความดันของ ของเหลว, ก๊าซ ลักษณะการทำงานคือ เซ็นเซอร์จะส่งสัญญาณทางไฟฟ้าที่มีความสัมพันธ์กับความดัน เซนเซอร์ถูกสร้างให้มีเยื่อบางพิเศษที่สามารถโค้งงอตามความดันที่ผ่านเข้าไป ซึ่งระดับความโค้งงอ สามารถวัดได้ด้วยการเปลี่ยนแปลงความต้านทาน(resistance) หรือ การเปลี่ยนแปลงของการเก็บประจุ (Capacitors) และมีการพัฒนามาเรื่อยๆสำหรับใช้งานในช่วงความดันต่างๆ เพื่อประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรม      สำหรับในปัจจุบันได้มีการนำโครงสร้างของเซ็นเซอร์ประเภทนี้มาพัฒนาเป็นระบบการวัดแรงดันน้ำและแรงดันลม ที่มีความละเอียดสูงสำหรับงานอุตสหกรรมต่างๆและการเกษตรด้วยและแต่ละงานอุตสาหกรรมก็ใช้รูปแบบและลักษณะที่แตกต่างกัน หลักการทำงานของ Pressure Sensor เครื่องซักผ้ามีเพรสเชอร์สวิทช์ เพรสเชอร์มี3ขา ขากลางเป็นกราวด์ ขาริมเป็นไฟ 2.5  DCV ขาริมอีกด้านก็เป็นไฟ 2.5  DCV ขาริมกับริมจะเป็นขดลวดมีค่า 22.2โอมห์ และขั้วริมกับกลางจะมี C ต่ออยู่1ตัว และขั้วริมกับกลางอีกด้านก็มี C อยู่อีก1ตัว รวมเป็น2ตัวจะทำการสร้างความถี่ร่วมกับขดลวด        เมื่อมีแ

นาย นนทวัฒน์ ศรีเมฆ เลขที่3

รูปภาพ
  รหัสเทียม หรือ ซูโดโค้ด (Pseudo Code)                           เป็นคำสั่งที่จำลองความคิดเป็นลำดับขั้นตอนโดยใช้สัญลักษณ์เป็น ประโยคภาษาอังกฤษ ซึ่งซูโดโค้ดไม่ใช่ภาษาโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์จึงไม่ สามารถนำไปประมวลผลได้ คือ ไม่สามารถสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามคำสั่ง แต่เป็นการเขียนจำลองคำสั่งจริงแบบย่อๆ ตามอัลกอริทึมของโปรแกรมระบบ เพื่อนำไปพัฒนาเป็นการเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ได้ รหัสเทียม (Pseudocode)  คือ การเขียนโปรแกรมในรูปแบบภาษาอังกฤษที่มีขั้นตอนและรูปแบบแน่นอนกะทัดรัด และมองดูคล้ายภาษาระดับสูงที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งไม่เจาะจงภาษาใดภาษาหนึ่ง ประโยชน์ของซูโดโค้ด             • เป็นเครื่องมือในการกำหนดโครงร่างกระบวนการทำงานของการเขียนโปรแกรมแต่ละโปรแกรม             • เป็นต้นแบบในการทบทวน ปรับปรุงแก้ไข และพัฒนาโปรแกรมของโปรแกรมเมอร์ และนักวิเคราะห์ระบบ             • เป็นตัวกำหนดงานเขียนโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมเมอร์นำไปพัฒนาเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อสั่งให้            คอมพิวเตอร์ทำงานตามกระบวนการที่ได้จำลองกระบวนการจริงไว้ในซูโดโค้ด วิธีการเขียนซูโดโค้ด             • ประโยคคำสั่ง